การสำรวจดัชนีความพร้อมในการดูแลตนเองของบุคลากรทางการแพทย์ (Healthcare providers)



Global Self-Care Federation (GSCF) เชิญผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และสุขภาพ เข้าร่วมการสำรวจเพื่อประเมินความรู้และทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์และแนวทางปฏิบัติในการดูแลตนเองของผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพ ผลการสำรวจจะเข้าสู่กระบวนการวิจัยดัชนีความพร้อมในการดูแลตนเองที่กำลังจะมีขึ้นของ GSCF โดยโครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของแผนความร่วมมือระยะ 3 ปีระหว่างสหพันธ์ฯ กับองค์การอนามัยโลก การสำรวจดัชนีความพร้อมในการดูแลตนเองมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและวิเคราะห์เกี่ยวกับตัวกระตุ้นที่สำคัญสำหรับ "ความพร้อมในการดูแลตนเอง" ในระบบสุขภาพและวัดระดับความพร้อมของระบบสาธารณสุขของแต่ละประเทศที่ถูกเลือกใช้ในปัจจุบัน โดยเน้นถึงความก้าวหน้าทางระบบสุขภาพที่ใช้ในปัจจุบันและโอกาสในการปรับปรุงในอนาคต การสำรวจนี้จะให้ข้อมูลที่สำคัญที่สนับสนุนการประเมินดัชนีความไว้วางใจของผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพและการสนับสนุนแนวทางปฏิบัติในการดูแลตนเองของผู้ป่วย
1.คุณอาศัยอยู่ในประเทศอะไร(Required.)
2.กรุณาระบุเพศของคุณ
3.คุณทำงานในส่วนงานใด
4.คุณได้ให้แนะนำผู้ป่วยของคุณบ่อยแค่ไหน เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และแนวทางปฏิบัติเพื่อดูแลตนเอง ควบคู่ไปกับการรักษาในปัจจุบัน เพื่อให้มีสุขภาพที่ดี(Required.)
5.คุณได้ให้แนะนำผู้ป่วยของคุณบ่อยแค่ไหน เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และแนวทางปฏิบัติเพื่อดูแลตนเอง ที่มีความเฉพาะเจาะจงกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น(Required.)
6.ในที่ทำงานปัจจุบันของคุณ มีการรวมแนวทางปฏิบัติในการดูแลตนเองในแนวทางการรักษาหรือไม่(Required.)
7.โปรดระบุว่าคุณแนะนำผู้ป่วยของคุณให้ใช้วิธีปฏิบัติในการดูแลตนเองเหล่านี้บ่อยเพียงใด (1 = ไม่เคยแนะนำ, 2 = แนะนำนานๆ ครั้ง, 3 = แนะนำเป็นบางครั้ง, 4 = แนะนำให้ปฏิบัติเป็นส่วนมาก, 5 = แนะนำให้ปฏิบัติอยู่เสมอ)
ไม่เคยแนะนำ
แนะนำนานๆ ครั้ง
แนะนำเป็นบางครั้ง
แนะนำให้ปฏิบัติเป็นส่วนมาก
แนะนำให้ปฏิบัติอยู่เสมอ
การบำบัดบรรเทาอาการปวด
การบรรเทาอาการไอ หวัด และไข้
การทานยารักษาภูมิแพ้ หรือเลี่ยงสิ่งที่แพ้
การดูแลเกี่ยวกับระบบการย่อยอาหาร
การดูแลสุขภาพดวงตา หรือสายตา
การดูแลสุขภาพทางเพศ (เช่น การใช้ถุงยางอนามัย)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การใช้ผลิตภัณฑ์ช่วยการนอนหลับ
การดูแลสุขภาพช่องปาก
การลดน้ำหนัก
การเลิกบุหรี่
การใช้เครื่องมือเพื่อช่วยในการวินิจฉัย (เช่น การใช้ที่วัดความดันโลหิต ที่ตรวจปัสสาวะ การใช้เทอร์โมมิเตอร์เพื่อวัดอุณหภูมิร่างกาย)
8.ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผู้ป่วยของคุณเริ่มพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อการดูแลตนเองบ่อยแค่ไหน(Required.)
9.คุณเห็นด้วยกับข้อความนี้มากน้อยเพียงใด “ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (มากกว่า 80%) มีความเข้าใจว่าการทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์กับโรคเบาหวาน มีความเกี่ยวข้องกัน(Required.)
10.คุณเห็นด้วยกับข้อความนี้มากน้อยเพียงใด “ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (มากกว่า 80%) มีความเข้าใจว่าการมีสุขภาพจิตที่ไม่ดี สัมพันธ์กับการมีสุขภาพกายที่ไม่ดีด้วย(Required.)
11.คุณพบว่าผู้ป่วยของคุณไม่ปฏิบัติตน หรือใช้ยาตามที่สั่งบ่อยแค่ไหน(Required.)
12.ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผู้ป่วยของคุณเริ่มพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติตนเพื่อการดูแลตนเองบ่อยแค่ไหน(Required.)
13.ผู้ป่วย มีสิทธิ์ในการเข้าถึงเวชระเบียนของตนเองผ่านระบบดิจิตัลหรือไม่(Required.)
14.ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา คุณจดบันทึกเรื่องการแนะนำ หรือการใช้ผลิตภัณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติในการดูแลตนเองในเวชระเบียนของผู้ป่วย (เป็นลายลักษณ์อักษรหรืออิเล็กทรอนิกส์) บ่อยเพียงใด(Required.)
15.โปรดระบุความเป็นไปได้ และความสะดวก ที่คุณจะได้รับค่าตอบแทนเมื่อมีการพูดคุยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ดูแลตนเองหรือการปฏิบัติตนกับผู้ป่วยของคุณ(Required.)
16.ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา คุณได้รับค่าตอบแทนที่เกี่ยวเนื่องมาจากการบริการ Telemedicine บ่อยเพียงใด(Required.)
17.คุณเชื่อว่าผลิตภัณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติใดต่อไปนี้ จัดอยู่ในหมวดหมู่ยาแผนโบราณหรือยาทางเลือก

*ความหมายของยาแผนโบราณหรือการแพทย์ทางเลือก

องค์การอนามัยโลกให้คำจำกัดความของการแพทย์แผนโบราณไว้ว่า "ผลรวมของความรู้ทักษะและการปฏิบัติตามทฤษฎีความเชื่อและประสบการณ์ของชนพื้นเมืองในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไม่ว่าจะชัดเจนหรือไม่ก็ตาม ใช้ในการบำรุงสุขภาพและการป้องกัน การวินิจฉัย การปรับปรุงหรือการรักษาความเจ็บป่วยทางร่างกายและจิตใจ" องค์การอนามัยโลกให้คำจำกัดความของการแพทย์ทางเลือกว่าเป็น "แนวทางปฏิบัติด้านการดูแลสุขภาพแบบกว้างๆ ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเพณีการแพทย์แผนปัจจุบันของประเทศนั้น ๆ และไม่ได้รวมเข้ากับระบบการดูแลสุขภาพหลัก”
18.คุณได้มีการแนะนำให้ผู้ป่วยใช้ผลิตภัณฑ์หรือการดูแลตนเองแนวทางใดบ้าง ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
19.คุณเห็นด้วยกับข้อความนี้มากน้อยเพียงใด “ผลลัพธ์ด้านสุขภาพโดยรวมจะดีขึ้นเมื่อผู้ป่วยได้รับแผนการดูแลที่บ้านที่เหมาะสม เพื่อจัดการกับภาวะโรคเรื้อรัง”(Required.)
20.คุณเห็นด้วยกับข้อความนี้มากน้อยเพียงใด “ผลลัพธ์ด้านสุขภาพโดยรวมจะดีขึ้น เมื่อผู้ป่วยใช้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย ในการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยได้อย่างเหมาะสม”(Required.)
21.คุณเห็นด้วยกับข้อความนี้มากน้อยเพียงใด “ฉันคิดว่าการดูแลตนเองเป็นองค์ประกอบหลักของแนวทางในการดูแลและจัดการผู้ป่วยของฉัน”(Required.)
22.คุณเห็นด้วยกับข้อความนี้มากน้อยเพียงใด “ผู้กำหนดนโยบายในประเทศของฉัน ส่งเสริมผลิตภัณฑ์และแนวทางปฏิบัติในการดูแลตนเอง เพื่อเป็นทางเลือกด้านสุขภาพที่ราคาไม่แพงและเป็นประโยชน์”(Required.)
23.โปรดอย่าลังเลที่จะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในช่องด้านล่าง